​ศ.นพ.ประสิทธิ์ แนะ “ปลูกต้นตะขบ” กรอง ลดฝุ่นละอองได้ดี แก้ไขปัญหาระยะยาวได้

LIEKR:

ท่านบอกให้ปลูกไว้หน้าบ้านของทุกคน!!

    ที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี แพทยสภาและกระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับกรุงเทพมหานคร จัดเสวนาเรื่อง “ฝุ่นละออง PM2.5 กับปัญหาสุขภาพและแนวทางแก้ไข” โดยมีอาจารย์แพทย์และนักวิชาการ รวมถึงคนแวดวงสาธารณสุขและผู้ที่สนใจ เข้าร่วมรับฟังอย่างพร้อมเพรียงกัน

    

    ศ.นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา นายกแพทยสภา กล่าวว่า ขณะนี้ประชาชนกำลังตื่นตัวและต้องหาซื้อหน้ากาก N95 ซึ่งความจริงไม่จำเป็นต้องวิ่งตามหา N95 ด้วยวิธีเดียว เพราะยังมีวิธีอื่นอีกมาก อีกทั้งสภาวะอากาศใน 1 วันมีความแตกต่างกันตามช่วงเวลา การปิดประตู-หน้าต่างหรือการออกนอกพื้นที่ก็เช่นกัน อย่าตื่นตระหนกจนไม่เป็นทำอะไร ส่วนในประเด็นการปลูกต้นไม้เพิ่มนั้น ต้นไม้ทั้งหมดสามารถใช้ได้ แต่บางชนิด เช่น ต้นตะขบ ลักษณะใบที่เป็นขนสามารถดักจับฝุ่นขนาดเล็กได้ดี การปลูกต้นไม้จึงเป็นแนวทางที่ทุกคนทำได้ ยังไม่หวังว่าทำวันนี้จะได้พรุ่งนี้ แต่อย่างน้อยสร้างออกซิเจนและเพิ่มประสิทธิภาพให้อากาศ หากเริ่มทำวันนี้ปัญหาในอนคตก็จะลดลง

 

Sponsored Ad

 

    นายแพทย์ดนัย ธีวันดา รองอธิบดีกรมอนามัย เปิดเผยว่า ฝุ่นนับเป็นสาเหตุการตายก่อนเวลาอันสมควร ซึ่งสถานการณ์ของไทยจะเกิดขึ้นในฤดูหนาวปลายปีต่อต้นปี โดยสภาพอากาศที่นิ่งและลมสงบ ฝุ่นได้ขังตัวอยู่ระดับล่าง ทำให้คนสูดดมเข้าไป โดยในช่วงเดือนพ.ย.ปี 61 ระดับของอากาศยังอยู่ที่สีเขียว กระทั่งเมื่อธ.ค. กลับมาเป็นสีส้ม จากนั้นลดลงช่วงปีใหม่เพราะเนื่องจากฝนตกลงมา และได้เพิ่มระดับขึ้นเป็นสีสมและแดงเรื่อยๆ จนถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ดีผู้ที่เป็นโ ร ค ห อ บ หื ด จะถูกกระตุ้นได้เร็วว่าโ ร คอื่นๆ 

 

Sponsored Ad

 

    นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ยังเปิดเผยว่า ข้อมูลจากทั่วโลกพบว่า 9 ใน 10 ของประชากรที่สัมผัสฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐานส่งผลให้เกิดโ ร ค ไ ม่ ติ ด ต่ อ เป็นสาเหตุอันดับ 2 รองจากการสู บ บุ ห รี่ แบ่งเป็น โ ร ค ห ล อ ด เ ลื อ ด ส ม อ ง 24 % ป อ ด อุ ด กั้ น เ รื้ อ รั ง 43% โ ร ค หั ว ใ จ ข า ด เ ลื อ ด  25% และ ม ะ เ ร็ ง ป อ ด  29 % และในทุกปีประชากรจำนวน 7 ล้านคน จะเ สี ย ชี วิ ตก่อนเวลาอันควรจากม ล พิ ษ ทางอากาศ

 

Sponsored Ad

 

     โดยเด็ก 0-5 ปี เ สี ย ชี วิ ต จากมลพิษทางอากาศ 5.7 แสนคนต่อปี และกระทบต่อพัฒนาการและความสามารถในการรับรู้ ทั้งนี้ในปี 2561 พบว่ามีการเ สี ย ชี วิ ตจากม ะ เ ร็ ง ป อ ด 1.8 ล้านคน และพบผู้ ป่ ว  ย รายใหม่ 2.1 ล้านคน คิดเป็น 11.6% ของผู้ ป่ ว ย รายใหม่ทั้งหมด

    นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม ผู้แทนราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ระบุว่า สิ่งที่ต้องแยกคือตื่นกลัวและตื่นตัว ความจริงเรื่อง PM2.5 ไม่ใช่ของใหม่ที่เพิ่งเกิดแต่มีหลายปีแล้ว แต่การตื่นตัวเฉพาะหน้าจะรับมืออย่างไร และระยะยาวจะทำอย่างไร ถ้าอากาศอยู่ในระดับสีส้มยาวทั้งปี ก็จะเท่ากับสูบบุหรี่ครึ่งซอง ระยะ 30 ปี ถ้าสีแดงก็จะเท่ากับสู บ บุ ห รี่ 1 ซอง ระยะเวลา 30 ปี แต่กลุ่มที่น่าเห็นใจ คือ คนทำงานกลางแจ้ง อาทิ พ่อค้าแม้ค้า ตำรวจจราจร คนทำความสะอาด คนที่ขับรถสาธารณะ รปภ. โดยจะมีอาการตั้งแต่หอบ ความดับ จนไปถึงระยะยาวอั ม พ ฤ ก ษ์ อั ม พ า ต ดังนั้นเมื่อกลับบ้านใช้น้ำสะอาดล้างตาและล้างจมูก หากพบว่าดวงตาแดงมากๆ ให้รีบมาพบแพทย์ทันที

 

Sponsored Ad

 

    น.ส.ช่อผกา วิริยานนท์ ผู้ร่วมก่อตั้งเครือข่ายต้นไม้ในเมือง กล่าวว่า ฝุ่นเป็นปัญหาระดับโลก ซึ่งสาเหตุคงไม่ใช่แค่การสันดาปที่ไม่สมบูรณ์ของเครื่องยนต์ โดยวิธีลงทุนถูกที่สุด แต่ได้ผลสูงสุดในระยะยาว เป็นหนึ่งตัวช่วยแก้ไขได้ คือ ต้นไม้ในเมืองจะฟอกอากาศให้ดีขึ้น ควรมาช่วยกันเพิ่มต้นไม้ ถ้าเราไม่ปลูกต้นไม้ให้สัมพันธ์ต่อประชากร ปัญหาก็ยังคงอยู่ โดยไม้พุ่มจะกรองอากาศระดับล่าง และไม่ใหญ่จะกรองอากาศชั้นบน พร้อมเสนอแนวทาง 7 มาตรการ

    1.หยุดตัดต้นไม้หัวกุด ให้ต้นไม้ที่มีได้แตกกิ่ง ก้าน ใบ 

Sponsored Ad

    2.อบรมรุกขกร ทุกหน่วยงานและทุกบริษัทรับตัดต้นไม้ 

    3.ดูแลระบบรากต้นไม้ 

    4.วางแผนการปลูกเพิ่ม     

    5.เพิ่มมาตรการทางกฎหมาย ให้ต้นไม้เป็นสมบัติสาธารณะ 

    6.บูรณาการจัดทำแผนบริหารจัดการต้นไม้ในเมือง และ 

    7.เสนอคณะรัฐมนตรี เป็นหนึ่งในแผนระยะยางของชาติ เพราะการปลูกต้นไม้เราต้องคิดถึงคนที่ไม่มีความพร้อมที่จะรับมือกับฝุ่นบ้าง

ขอบคุณข้อมูลและภาพจาก tvpoolonline

บทความแนะนำ More +

บทความที่คุณอาจสนใจ