"หมอสภา" แนะ คิดให้ดี ก่อนบริจ าค เครื่องมือแพทย์ หวังดีแต่อาจไม่ได้ใช้-กองอยู่ใต้บันได

LIEKR:

คิดดีๆบริจาคเครื่องมือแพทย์ อาจไม่ได้ใช้ และกองอยู่ใต้บันได

    เลขาธิการแพทยสภา ได้ออกมาให้คำแนะนำ การบริจาคเครื่องมือแพทย์ ต่อโรงพย าบาลที่ ข า ด แ ค ล น เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดและดีต่อโรงพย าบาลนั้นๆ โดยบุคคลากรสามารถใช้งานได้จริง ชี้ควรหาข้อมูลว่าโรงพย าบาลมีความต้องการและอยากได้เครื่องมือใด เพื่อให้เกิดประโยชน์ระยะยาว แบบยั่งยืนกับโรงพย าบาล

    เมื่อวานนี้ พล.อ.ต.นพ.อิทธพร คณะเจริญ เลขาธิการแพทยสภา ได้โพสต์ผ่านเฟซบุ๊ก @Ittaporn Kanacharoen ระบุว่า "เช้านี้มีพี่ใจดีมาถามเรื่องการบริจาค เครื่องมือแพทย์ให้กับโรงพยาบาลรัฐ บอกว่าโรงพย าบาลต้องการเครื่องมือ หมอมีแหล่งซื้อไหม? แถมส่งไปโรงพย าบาลที่อยู่ชายแดน ไม่มีผู้แทนไปดูแล และซ่อมบำรุง อีกรายหนึ่ง บอกว่าคุณพ่อเป็น โ ร ค ไ ต เ สี ย ชี วิ ต จะซื้อเครื่อง ฟ อ ก ไ ต ให้โรงพย าบาล เพราะเป็นภูมิลำเนาเดิม แต่โรงพย าบาลไม่มีระบบ สำหรับหน่วย ฟ อ ก ไ ต ไม่มีหมอดูแล ให้ไปก่อนได้ไหม ให้ไปหาหมอเอาเอง เพื่อตอบแทนสิ่งที่คุณพ่อสั่งไว้"

 

Sponsored Ad

 

 

    พล.อ.ต.นพ.อิทธพร กล่าวว่า ตนสนับสนุนถ้าจะ บ ริ จ า ค ของและอุปกรณ์การแพทย์ อย่างน้อยเป็นวัตถุถาวรให้กับโรงพย าบาล และบางทีติดชื่อบริษัทได้ เป็นเรื่องที่ดี แต่ต้องระวังขอให้นับ 1-4 เสี ยก่อนค่อยตัดสินใจ

    1.อย่า บ ริ จ า ค เพียงเพราะเราอยากให้ แต่ต้องตรวจสอบ คุยกับผู้รับว่าโรงพย าบาลมีความต้องการและอยากได้จริงหรือไม่ คนไข้จะได้ประโยชน์จริงไหม

 

Sponsored Ad

 

    2.เครื่องมือแพทย์แต่ละอย่างมีหมอ หรือพย าบาล หรือเจ้าหน้าที่ที่ใช้เป็น และเรียนมาโดยเฉพาะต้องตรวจสอบว่ามีหรือไม่ก่อน บ ริ จ า ค เขามีคนใช้เครื่องมือจริง แล้วได้ประโยชน์ และมีพื้นที่ อาคาร หน่วย ระบบ ตั้งรองรับ แล้ว

    3.เครื่องมือแพทย์แต่ละเครื่อง ปัจจุบันเป็นคอมพิวเตอร์ Network อาจต้องมีการต่อเชื่อมกับระบบของโรงพยาบาลได้ ในเครือข่ายเดียวกัน การ บ ริ จ า ค ต้องศึกษาระบบของโรงพย าบาลเสียก่อน หากให้โดยเชื่อมต่อไม่ได้จะมีประโยชน์น้อย หรืออายุการใช้งานสั้น ดังนั้นต้องทราบระบบ

 

Sponsored Ad

 

 

    4.เครื่องมือแพทย์ควรจะใช้ได้อายุยาวนาน ดังนั้นการซ่อมบำรุงต้องมีบริษัทเข้าไปดูแล ตรวจสอบเสี ยก่อนว่าโรงพย าบาลที่มอบให้นั้น มีตัวแทนบริษัทมาดูแลหรือไม่ ในอำเภอนั้น จังหวัดนั้น มิฉะนั้น เมื่อเสียจะไม่มีใครซ่อม เราจะซ่อมแล้วอะไหล่อุปกรณ์น้ำยา โรงพย าบาลต้องจัดซื้อได้ หรือร่วมกับอุปกรณ์ตัวเดิมที่มีอยู่แล้วในโรงพย าบาล จะได้ดูแลร่วมกันได้ ไม่ควรใช้ยี่ห้อใหม่ที่คนในโรงพย าบาลไม่คุ้นเคย

 

 

Sponsored Ad

 

    "ทั้ง 4 ข้อนี้เพื่อป้องกันมิให้เครื่องมือที่ บ ริ จ า ค ไป ซ่อมไม่ได้เมื่อยามเสี ย หรือไม่มีอะไหล่ ไม่มีน้ำยาที่ใช้ได้ อุปกรณ์สั่งซื้อไม่ได้ ไม่มีแบตเตอรี่สำรอง ไม่มีกระดาษพิเศษที่ใช้ สุดท้ายต้องไปอยู่ใต้บันได เสียดายเงินที่ บ ริ จ า ค อย่าซื้อเครื่องมือเดียวกันในยี่ห้อที่ถูก โดยมองเพียงราคา เพื่อให้ บ ริ จ า ค ได้หลาย ๆ ชิ้นกว่า แต่ต้องมองว่าเครื่องไหนใช้ได้จริง และเกิดประโยชน์ระยะยาว แบบยั่งยืนกับโรงพย าบาล ถ้านับไม่ถึง 4 อย่าเพิ่ง บ ริ จ า ค นะครับ หรือที่สำคัญ ให้โรงพย าบาลจัดหาเอง ในสิ่งที่เขาต้องการ หรือเข้า มู ล นิ ธิ เพื่อรวบรวม ให้ได้สิ่งที่เขาต้องการ จะดีที่สุด แล้วยังหักภาษีได้ด้วย ทุกโรงพย าบาลรัฐยัง ข า ด แ ค ล น อีกเยอะนะครับ" เลขาธิการแพทยสภา ระบุ

จากโพสต์

ข้อมูลและภาพ จาก Ittaporn Kanacharoen

บทความแนะนำ More +

บทความที่คุณอาจสนใจ